Skip to main content

พลังงานหมุนเวียนจากขยะอุตสาหกรรมที่ไม่เป็นอันตราย

เทคโนโลยีใหม่ที่นำมาใช้ในโรงไฟฟ้าชลบุรี คลีน เอ็นเนอร์ยี่ สามารถนำขยะหลากหลายประเภทมาเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เพียงพอและตอบสนองความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นโดยไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติบนโลก

หนทางสู่การผลิตพลังงานสะอาด

การแก้ปัญหาแบบครบวงจร

การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะอุตสาหกรรมของท่าน เพื่อจ่ายให้โครงข่ายไฟฟ้าในท้องถิ่น

การปฏิบัติตามกฎระเบียบ

ดำเนินการตามมาตรฐานการปล่อยมลพิษของไทยและยุโรป

พื้นที่ใกล้เคียง

ตั้งอยู่ใกล้กับอีสเทิร์นซีบอร์ด ซึ่งเป็นที่ตั้งของ 40% เพื่อนิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทย

สถานที่ตั้งของโรงไฟฟ้า อยู่ในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)

ผลที่ได้รับจากการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ

การนำหลักการดำเนินธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมาใช้ในการปฎิบัติการขององค์กรในทุกภาคส่วน ตั้งแต่การลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ จนถึงนโยบายที่จะไม่มีการฝังกลบขยะ

ประโยชน์ทางสังคม

  • สามารถผลิตพลังงานสะอาดที่ยั่งยืนได้อย่างเพียงพอสำหรับบ้านเรือน 10,000 หลัง

การปฏิบัติตามกฏระเบียบ
อย่างเคร่งครัด

  • กฎระเบียบของไทย
  • นโยบายการนำขยะไปฝังกลบต้องเป็นศูนย์
  • นโยบาย 3R คือ ลดการใช้ การใช้ซ้ำ และการนำกลับมาใช้ใหม่
  • นโยบายการตรวจสอบย้อนกลับ และระบบ ISO 14001

ดีกว่าวิธีการฝังกลบขยะ

  • ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ ประมาณ 22,400 ตันต่อปี (จากข้อมูลการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์จากการผลิตไฟฟ้าในประเทศไทยในปี 2562 จำนวน 0.41 กิโลกรัม CO2 ต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง)
  • การแปรรูปเพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงาน
  • ไม่ส่งมอบสิ่งที่เป็นอันตรายให้กับคนรุ่นถัดไป
  • ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดมลพิษในดิน

ประสิทธิภาพที่ดีกว่า

  • การแปรรูปขยะให้เป็นพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
  • สามารถปรับใช้ได้กับขยะอุตสาหกรรมที่มีความหลากหลาย
  • ไม่จำเป็นต้องมีการปรับปรุงคุณภาพเชื้อเพลิงก่อน

เราตอบสนองความต้องการด้านพลังงาน
ได้อย่างยั่งยืนมากขึ้น

ลดอันตรายจากการบริหารจัดการและการกำจัดขยะอุตสาหกรรม และขาดแคลนพื้นที่ฝังกลบ

สนับสนุนนโยบายของรัฐบาลด้านการรับมือกับการบริหารจัดการและการกำจัดของเสียอุตสาหกรรม ในนิคมอุตสาหกรรม การขนส่ง และการเพิ่มขึ้นของจำนวนของเสียอุตสาหกรรม

สนับสนุนการผลิตพลังงานทดแทนจากขยะ เพื่อเป็นอีกหนึ่งเชื้อเพลิงทางเลือกในการผลิตไฟฟ้า

ลดภาระการลงทุนของรัฐบาล

สมทบเงินเข้ากองทุนพัฒนาไฟฟ้าของทั้งช่วงที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง และหลังจากเริ่มดำเนินการเชิงพาณิชย์

สนับสนุนให้ท้องถิ่นมีรายได้มากขึ้นโดยวิธีการว่าจ้างงาน การจัดซื้อจัดจ้าง และภาษี

ยกระดับคุณภาพชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม